4adk.com

4adk.com

เดบิต (Debit) เครดิต (Credit) จากรูปแบบของสมุดรายวันทั่วไปข้างต้น จะสามารถอธิบายถึงส่วนประกอบต่าง ๆ ของสมุดรายวันทั่วไป ได้ดังนี้ จะต้องมีคำว่าสมุดรายวันทั่วไป (General Journal) อยู่หัวกระดาษตรงกลางเพื่อที่จะบอกว่าแบบฟอร์มที่จัดทำนี้คือสมุดรายวันทั่วไป จะต้องมีเลขที่หน้าของสมุดรายวันทั่วไปอยู่ตรงมุมบนขวามือของกระดาษเพื่อบอกว่าสมุดรายวันทั่วไปที่บันทึกอยู่นี้เป็นหน้าที่เท่าไร ช่องที่ 1 ของสมุดรายวันทั่วไปเป็นช่องที่แสดงวันที่ ของรายการค้าที่เกิดขึ้น ซึ่งจะต้องเป็นวันที่ที่เรียงลำดับก่อนหลังของรายการค้าที่เกิดขึ้น ในการบันทึกรายการในช่องวันที่นั้น ให้บันทึกปีพ. ศ. ก่อน โดยบันทึกไว้อยู่ตรงกลาง ต่อมาบันทึกเดือน โดยบันทึกไว้ด้านหน้า แล้วต่อมาจึงบันทึกวันที่ หากวันต่อไปของรายการค้าที่จะต้องบันทึกบัญชีหากเป็นปีเดียวกัน เดือนเดียวกัน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องบันทึก ปี พ. และเดือนใหม่อีก 4.

  1. รายการเปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป - asseunit2
  2. การบัญชีเบื้องต้น: การบันทึกสมุดรายวันทั่วไป

รายการเปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป - asseunit2

5 สมุดรายวันส่งคืนสินค้า (Purchases Returns and Allowance Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกี่ยวกับการส่งคืนสินค้าที่ซื้อมาเป็นเงินเชื่อเท่านั้น 1. 6 สมุดรายวันรับคืนสินค้า (Sales Returns and Allowance Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกี่ยวกับการรับคืนสินค้าที่ขายเป็นเงินเชื่อเท่านั้น 2.

สมุดรายวันขั้นต้น (Book of Original Entry) หรือ สมุดรายวัน (Journal) หมายถึงสมุดบัญชีที่จะใช้จดบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เป็นขั้นแรก โดยการจดบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นนั้น จะจดบันทึกโดยเรียงตามลำดับก่อนหลังของการเกิดรายการค้า ประเภทของสมุดบัญชีขั้นต้น ( Types of Books of Original Entry) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. สมุดรายวันเฉพาะ( Special Journal) คือ สมุดรายวันหรือสมุดบัญชีขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ 1. 1 สมุดรายวันรับเงิน (Cash Received Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกี่ยวกับการรับเงินเท่านั้น เช่น การรับรายได้ การรับชำระหนี้ เป็นต้น 1. 2 สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Payment Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกี่ยวกับการจ่ายเงินเท่านั้น เช่น จ่ายค่าใช้จ่าย ซื้อสินทรัพย์ จ่ายเงินชำระหนี้ เป็นต้น 1. 3 สมุดรายวันซื้อ ( Purchases Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกี่ยวกับการซื้อสินค้าเป็น เงินเชื่อเท่านั้น 1. 4 สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกี่ยวกับการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อเท่านั้น 1.

  1. Honda Super Cub C125 2018 มอเตอร์ไซค์ราคา 89,550 บาท ฮอนด้าซูเปอร์คับ | เช็คราคา.คอม
  2. ยอดยกมาคืออะไร เรื่องที่ผู้ประกอบการและนักบัญชีต้องรู้ | Station Account
  3. Honda cb150r ราคา engine
  4. ฟิสิกส์ การเคลื่อนที่แบบวงกลม | เนื้อหาการเคลื่อนที่แบบหมุน pdfที่แม่นยำที่สุด

ค. 1 นายนครเปิดร้านบริการซ่อมวิทยุ โทรทัศน์ และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ โดยนำเงินสด 40, 000 บาท เงินฝากธนาคาร 60, 000 บาท อาคาร 400, 000 บาท อุปกรณ์การซ่อม 50, 000 บาทและ เจ้าหนี้ 60, 000 บาท มาลงทุน 5 รับเงินค่าซ่อมโทรทัศน์ 3, 000 บาท 8 ซื้ออุปกรณ์ในการซ่อมเป็นเงินเชื่อ จากร้านโกมล 12, 000 บาท 11 จ่ายค่าเช่าอาคารเพิ่มเติมเนื่องจากพื้นที่คับแคบ 12, 000 บาท 15 ซ่อมพัดลมให้โรงเรียนเก่งวิทยา 35, 000 บาท ยังไม่ได้รับเงิน 20 รับชำระหนี้จากโรงเรียนเก่งวิทยาตามรายการวันที่ 15 ม. ค. 25 จ่ายชำระหนี้ให้ร้านโกมล 12, 000 บาท 28 กู้เงินจากธนาคารไทย 80, 000 บาท 29 นายนครถอนเงินไปใช้ส่วนตัว 14, 000 บาท 31 จ่ายเงินเดือนให้คนงาน 28, 000 บาท ให้ทำ บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป การบันทึกรายการปกติของกิจการในสมุดรายวันทั่วไป รายการปกติของกิจการ (Journal Entry) เป็นการบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากมีการลงทุน หรือเริ่มระยะเวลาบัญชีใหม่แล้ว ในแต่ละวัน โดยการบันทึกรายการค้าปกติของกิจการจะบันทึกโดยเรียงตามลำดับ ก่อนหลังของการเกิดรายการค้า ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับการ บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปตัวอย่างที่ 4 ข้างต้น แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 1.

การบัญชีเบื้องต้น: การบันทึกสมุดรายวันทั่วไป

2 หากเป็นรายการเปิดบัญชีที่เป็นการลงทุนใหม่แต่เจ้าของกิจการนำสินทรัพย์มากกว่าหนึ่งรายการและหรือนำหนี้สินมาลงทุนด้วย ในช่องรายการให้เขียนคำว่า " สมุดรายวันทั่วไป " 3. 3 หากเป็นรายการเปิดบัญชีที่ไม่ใช่เป็นการลงทุนครั้งแรก แต่เป็นการเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ของกิจการ ในช่องรายการให้เขียนคำว่า " ยอดยกมา " 3. 4 หากเป็นรายการค้าปกติของกิจการ ในช่องรายการให้เขียนชื่อบัญชีที่อยู่ตรงกันข้าม 4. เขียนอ้างอิงหน้าที่ของสมุดรายวันทั่วไปที่บันทึกรายการนั้น ว่ารายการที่ผ่านมาสมุดบัญชีแยกประเภทในครั้งนี้มากจากรายการที่ได้บันทึกแล้วในสมุดรายวันหน้าที่เท่าไร ทั้งนี้เพื่อจะได้ทราบว่ารายการที่บันทึกในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปนั้นมาจากสมุดรายวันทั่วไปหน้าที่เท่าไร โดยการเขียนอ้างอิงหน้าบัญชีนั้น ให้ใช้อักษรย่อ " รว. " แทนคำว่าสมุดรายวันทั่วไป แล้วตามด้วยเลขหน้าของสมุดรายวันทั่วไป เช่น หากรายการค้านี้ผ่านมาจากสมุดรายวันทั่วไปหน้าที่ 1 ให้เขียนอ้างอิงในช่องหน้าบัญชีว่า " รว. 1" 5. เขียนจำนวนเงินที่ปรากฎในสมุดรายวันทั่วไปลงในช่องจำนวนให้มีจำนวนเท่ากันตามชื่อบัญชีนั้น ๆ

October 15, 2022, 2:30 pm
รถ-เขน-หาง-มอ-สอง