4adk.com

4adk.com

เมื่อทางอำเภอได้รับทราบก็ร่วมมือกับพ่อค้า ประชาชนช่วยเหลือถึงแม้นในตัวอำเภอเสียหายเหมื่อนกันแต่ยังน้อยกว่า ย้อนรอยภาพอดีตรำลึกวาตภัยแหลมตะลุมพุก มีต่อตอน 2 ครับ

แหลมตะลุมพุก ปากพนัง

เกาะติดข่าวสาร >> คมชัดลึก ออนไลน์ 25 ต. ค. ย้อนเส้นทาง 59 ปี โศกนาฏกรรม "พายุแฮเรียต" ถล่ม "แหลมตะลุมพุก" จ. นครศรีธรรมราช คร่าชีวิตผู้คนไปเกือบ 1, 000 ราย นายนพดล มากทอง โฆษกมูลนิธิสภาเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ค มูลนิธิสภาเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ระบุว่า 25 ต. วันนี้เมื่อปี 2505 " พายุแฮเรียต " ขึ้นฝั่งแหลมตะลุมพุก ถูกบันทึกเป็นพายุโซนร้อนลูกแรก ที่พัดเข้าประเทศไทย ผมเกิดไม่ทัน ได้แต่ฟังผู้ที่ในเหตุการณ์เล่าให้ฟัง "แฮเรียต" พายุลูกนี้รุนแรงที่สุดในประเทศไทยในขณะนั้น มีผู้เสียชีวิต 911 คน ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงให้สถานีวิทยุ อส. ออกอากาศเชิญชวนคนไทยบริจาคสิ่งของช่วยเหลือ เพื่อให้เห็นว่า ในยามที่ประเทศชาติมีภัย คนไทยไม่เคยทิ้งกัน มีภาพประวัติศาสตร์ที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงรับของที่ชาวบ้านมาบริจาคด้วยพระองค์เอง และเหตุการณ์ในครั้ง ยังเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ มีโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ให้ลูกหลานได้เล่าเรียนมาจนถึงวันนี้ ต่อมาปลายเดือน ต. 2532 พายุไต้ฝุ่น "เกย์" ก่อตัวขึ้นฝั่งที่จังหวัดชุมพร วันที่ 2 พย.

ส. พระราชวังดุสิต กระจายข่าวอย่างละเอียด เชิญชวนให้ประชาชน ร่วมบริจาคกับในหลวง รวบรวมสิ่งของ เครื่องใช้ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม และเงินตามศรัทธา เพื่อนำไปช่วยเหลือผู้ประสบวาตภัยดังกล่าว เพียงเวลาไม่นานนัก ประชาชนที่รับฟังข่าวจากวิทยุ อ. พระราชวังดุสิต ต่างก็หอบหิ้วสิ่งของ ตามที่มีอยู่และซื้อหามาได้ ทั้งถุงข้าว เสื้อผ้า จอบ เสียม หม้อ กระทะ เข้าสู่พระราชตำหนักจิตรลดารโหฐานเป็นทิวแถว ได้ข้าวของมากมายกองเต็มไปหมด ทรงพระราชกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ร. พ. รถไฟ เครื่องบินของกองทัพอากาศ เรือของกองทัพเรือ รถยนต์ของหน่วยราชการ ทั้งหมดที่มีที่ช่วยได้ ก็ระดมกันมาช่วยเหลือผู้เคราะห์ร้ายเป็นการด่วน และเหตุการณ์ในครั้งนั้น ทำให้เกิด มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานเงินบริจาค ให้นำไปบรรเทาทุกข์อย่างทั่วถึง แล้วยังมีเงินเหลืออยู่ จึงทรงพระกรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้อธิบดีกรมประชาสงเคราะห์ ขอจดทะเบียนตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ. 2506 โดยได้พระราชทานเงินจำนวน 3 ล้านบาท ให้เป็นทุนประเดิม ของมูลนิธิฯ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ทันท่วงที สรุปยอดความเสียหาย ในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคใต้ จากเหตุการณ์แหลมตะลุมพุก พ.

ต. ค. 20 ผู้เขียนเป็นชาวหัวสวน หมู่ 7 ต. เกาะทวด อ.

แหลมตะลุมพุกพิลาป

  • แหลมตะลุมพุก ปากพนัง
  • แหลมตะลุมพุก - ชาวเลโฮมสเตย์ @ ปากพนัง บริการบ้านพัก โอบกอดด้วยธรรมชาติ บรรยากาศที่อบอุ่น
  • 56 ปี พายุ แฮเรียต มหาวาตภัย แหลมตะลุมพุก - YouTube

แหลมตะลุมพุก คำว่า "ตะลุมพุก" เป็นชื่อของปลาชนิดหนึ่งที่เคยมีอยู่ชุกชุมที่แหลมแห่งนี้ โดยเฉพาะบริเวณด้านปลายของแหลมทรายรูปจันทร์เสี้ยวที่ยื่นไปในอ่าวไทย ขณะที่การเข้ามาตั้งถิ่นฐานของคนช่วงแรกเป็นชาวไทยอิสลาม ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เพื่อมาทำการประมง จากนั้นจึงเริ่มมีชาวจีนเข้ามาทำการค้า จนเกิดตำบลเชื้อสายแซ่ ทำให้ปัจจุบันแหลมตะลุมพุกแห่งนี้ มีการประสมประสาน 2 วัฒนธรรม อิสลาม จีน และไทยพุทธ โดยครั้งหนึ่งในอดีต เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2432 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เคยเสด็จพระราชดำเนินมายังแหลมตะลุมพุกแห่งนี้ ซึ่งจากบันทึกจดหมายเหตุเสด็จประพาสแหลมมลายู ร. ศ. 108 บรรยายไว้ว่า "เป็นหาดแคบนิดเดียวแต่ยังยาววงเป็นอ่าวเข้าไปไกล มีเรือนประมาณ 70 หลัง ปลูกมะพร้าวมาก มีของที่เป็นสินค้าขายออก คือ ปลาเค้า ปลากระบอก เคย แตง" ครั้งหนึ่งเมื่อราวปี 2505 แหลมตะลุมพุกเคยถูก พายุโซนร้อนชื่อ "แฮเรียต" เข้าถล่มเมื่อวันที่ 25 ต. ค.

แหลมตะลุมพุกอ. ปากพนัง จ. นครศรีธรรมราช มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันมายาวนาน เนื่องจากการถูกพายุพัดสร้างความเสียหาย ครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยเกิดจากวาตภัย เกิดจากพายุชื่อ "แฮร์เลียต" มีความเร็วลมที่จุดศูนย์กลาง90 กม.

"แหลมตะลุมพุก: เรื่องสั้น". ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้ เล่มที่ 14. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542
ราคา มะนาว 2019
October 11, 2022, 6:08 pm
รถ-เขน-หาง-มอ-สอง