4adk.com

4adk.com

7 ม. ค. 64 - นพ. วรงค์ เดชกิจวิกรม แกนนำกลุ่มไทยภักดี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก Warong Dechgitvigrom โดยมีรายละเอียดดังนี้ #ทำไมยกฟ้องจำนำข้าว ผมได้รับโทรศัพท์จากนักข่าวสายเศรษฐกิจ ด้วยน้ำเสียงตกใจว่า ทำไมคดีจำนำข้าวที่องค์การคลังสินค้า(อคส. )ฟ้องทั้งอาญาและแพ่ง ศาลเพิ่งอ่านคำพิพากษา "ยกฟ้อง"ทั้งหมด ผมเลยอธิบายไปว่า เป็นสิ่งที่ผมคาดไว้อยู่แล้ว และคิดว่า คดีพวกนี้ มีโอกาสสูงมากที่จะยกฟ้อง ผมเลยอธิบายให้น้องเขาเข้าใจภาพรวมก่อนว่า โครงการรับจำนำข้าวนี้ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นที่1 เราเรียกว่าต้นน้ำ คือชาวนานำข้าวเปลือกมาเข้าโครงการรับจำนำข้าวที่โรงสี ขั้นตอนนี้มีตัวละคร 3 ส่วนคือ ชาวนา โรงสี และเจ้าหน้าที่รัฐที่ส่งมานั่งประจำ (จะเป็นอคส. หรืออตก. แล้วแต่แบ่งกันรับผิดชอบ) ขั้นตอนนี้ส่วนใหญ่ชาวนาถูกโกง โกงตาชั่ง โกงความชื้น โกงสิ่งเจือปน ขั้นตอนที่ 2 เราเรียกว่ากลางน้ำ นั่นคือเอาข้าวเปลือกที่โรงสีรับไว้ มาสีเป็นข้าวสาร และส่งมาเก็บในคลังกลางที่รัฐบาลเช่า ขั้นตอนนี้มีตัวละคร 4 ส่วนคือ 2. 1โรงสี จะสีข้าวเปลือกเป็นข้าวสารมาส่งคลัง 2. 2 เซอร์เวย์เยอร์ จะมีหน้าที่ตรวจคุณภาพข้าว ชนิดข้าว ว่าถูกต้องไหม คุณภาพดีไหม แล้วนำข้าวสารเข้าเก็บในคลัง 2.
  1. TDRIเปิดวิจัยรับจำนำข้าว สรุป5ประเด็นทำลายระบบ - ศูนย์ข้อมูล&ข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง (TCIJ)
  2. ย้อนเส้นทางคดีจำนำข้าว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สู่วันพิพากษา ชี้ชะตาการเมืองไทย! – THE STANDARD
  3. คอลัมน์การเมือง - โกงจำนำข้าว คือที่สุดของการโกงในโลก
  4. Hashtag: สรุป #จำนำข้าว จบใน 20 นาที คืออะไรใครทุจริต ทำไมยิ่งลักษณ์รอด Ep.251 - YouTube
  5. สรุปประเด็นคำพิพากษา คดี 'ยิ่งลักษณ์' จำนำข้าว
  6. จุดเริ่มต้นโครงการ “จำนำข้าว” ก่อนเข้าสู่การตัดสิน : PPTVHD36
  7. บทเรียนทุจริตจำนำข้าว บาดลึก-หลุมดำประเทศ

พงศ์อินทร์กล่าวว่า การปฏิบัติของดีเอสไอในคดีคือ ได้รับเชิญให้ไปร่วมการตรวจสอบของคณะกรรมตรวจสอบและประเมินผลของการรับจำนำข้าวนาปี แต่พบว่าผลของการตรวจสอบไม่ได้เข้มข้นจริงจัง ทั้งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่การไปตรวจต้องจริงจัง และเจ้าหน้าที่ที่ไปตรวจสอบต้องมีอำนาจ มีความรู้ สามารถไปโต้เถียงกับโรงสีได้ เพราะโรงสีเขามีความเชี่ยวชาญและมีอิทธิพลมาก พ. พงศ์อินทร์ยอมรับว่าแนวทางการดำเนินคดีจะเน้นตั้งรับมากกว่าเชิงรุก เพราะมีคดีพิเศษที่รับผิดชอบจำนวนมากที่สำคัญเช่น คดีทุจริตยาสูตรผสมซูโดอีเฟรดรีน และ คดีทุจริตเงินกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต หรือ กรอ. เป็นต้น แค่คดีซูโดอีเฟรดรีนก็ใช้เวลานานเป็นครึ่งปีแล้ว ที่สำคัญ จากบทเรียนหรือประสบการณ์เกี่ยวกับการดำเนินคดีทุจริตในโครงการจำนำพืชผลเกษตร เช่น คดีเกี่ยวกับรับจำนำมันสำปะหลัง เกี่ยวกับการะบายสินค้า ระบายข้าว การทุจริตเกี่ยวกับโกดังข้าว ทุจริตเรื่องลำไย ทำให้รู้ว่า แผนประทุษกรรมพวกนี้มีขบวนการอย่างไร และก็มีประสบการณ์เรื่องนี้พอสมควร ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้กระทรวงพาณิชย์โอนคดีทุจริตจำนำข้าวมาให้ดีเอสไอรับผิดชอบเป็นคดีพิเศษ แต่เรื่องนี้ไม่ง่าย พ.

เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ที่ผ่านมา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) เปิดเผย งานวิจัย "ยุทธศาสตร์ข้าวไทย การวิจัยและพัฒนาข้าวไทยและการมองไปข้างหน้า" โดย ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุณ และคณะ ระบุว่า นับตั้งแต่รัฐบาลพรรคเพื่อไทยดำเนินการรับจำนำข้าวเปลือกตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2554 จนถึงวันที่ 29 ตุลาคม 2555 รัฐบาลได้รับซื้อข้าวเปลือกตามโครงการรับจำนำข้าวนาปี 2554/55 และข้าวนาปรัง 2555 รวมทั้งสิ้น 21. 76 ล้านตันข้าวเปลือก (คิดเป็นข้าวสารทั้งสิ้น 13. 38 ล้านตัน) ถ้าคิดเฉพาะการรับจำนำข้าวนาปรังปี 2555 ก็กล่าวได้ว่ารัฐบาลประสบความสำเร็จในการนำข้าวเปลือกเข้าสู่โครงการรับจำนำตามนโยบายที่พรรคเพื่อไทยหาเสียงไว้ เพราะปริมาณการรับจำนำ (14. 8 ล้านตัน) สูงกว่าปริมาณการผลิตที่คาดคะเนโดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (12. 2 ล้านตัน) อย่างไรก็ตาม จากรายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการ" ยุทธศาสตร์ข้าวไทย การวิจัยพัฒนาข้าวไทยและการมองไปข้างหน้ า" โดย ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าโครงการนี้ทำให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อฐานะทางการคลังและการค้าข้าวของไทย รายงานฉบับดังกล่าวได้สรุปการรั่วไหลและความสูญเสียอันเนื่องมาจากโครงการรับจำนำข้าว ดังนี้ 1.

ได้มีหนังสือแจ้งเตือนและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนำเอานโยบายรับจำนำข้าวไปดำเนินการปฏิบัตินั้น จะมีผลกระทบต่องบประมาณแผ่นดิน และการทุจริตในขั้นตอนต่างๆให้จำเลยทราบเป็นระยะๆ แต่จำเลยกลับไม่ได้ติดตามกำกับดูแลอย่างใกล้ชิด เห็นได้จากจำเลยในฐานะประธาน กขช. ได้เข้าร่วมประชุม กขช. เพียงการประชุมครั้งแรกครั้งเดียวเท่านั้น ส่วนการประชุมอีก 22 ครั้ง ไม่ได้เข้าประชุม โดยเฉพาะขั้นตอนการระบายข้าวนั้น จำเลยในฐานะประธาน กขช. ได้มีคำสั่งแต่งตั้งให้ พ. วีระวุฒิ หรือหมอโด่ง ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการ รมว. พาณิชย์ และดำรงตำแหน่งเลขานุการ รมว. พาณิชย์ ในเวลาต่อมา ซึ่งภายหลัง พ. วีระวุฒิ ถูกฟ้องเป็นจำเลยที่ 3 ในคดีระบายข้าวแบบรัฐต่อรัฐหรือจีทูจี และหลบหนีในระหว่างพิจารณาคดีดังกล่าว และยังเป็นอนุกรรมการพิจารณาระบายข้าว, อนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติด้านการตลาด, อนุกรรมการกำกับดูแลการรับจำนำข้าว รวมทั้งอนุกรรมการตรวจสอบและติดตามการรับจำนำข้าว ซึ่งคำสั่งแต่งตั้งให้ พ. วีระวุฒิ หรือหมอโด่ง เป็นอนุกรรมการชุดต่างๆ ดังกล่าว ล้วนให้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับการระบายข้าวทั้งสิ้น นอกจากนี้หลังจากที่นายวรงค์ เดชกิจวิกรม อภิปรายไม่ไว้วางใจเรื่องการทุจริตการระบายข้าว ปรากฏว่ายังมีการส่งมอบข้าวตามสัญญาขายข้าวถึง 4 สัญญา ทั้งที่ยังมีระยะเวลาเพียงพอที่จะตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่นายวรงค์ อภิปราย และจำเลยมีเวลาเพียงพอที่จะระงับยับยั้งการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ยังไม่ได้ส่งมอบไว้ก่อน แต่จำเลยในฐานะนายกฯและประธาน กขช.

8 แสนล้านบาทและขาดทุนที่เกิดขึ้นค่อนข้างแน่จากการปรับมูลค่าต้นทุนข้าวสารที่มีอยู่ในสต็อกของโครงการรับจำนำอีกประมาณ 3.

TDRIเปิดวิจัยรับจำนำข้าว สรุป5ประเด็นทำลายระบบ - ศูนย์ข้อมูล&ข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง (TCIJ)

  • ทำนายฝัน ขับเครื่องบินเจ็ท [1]
  • เตา อบ nesco
  • 2 ศาล เห็นพ้อง"ยิ่งลักษณ์ "ไม่ผิด "จำนำข้าว"
  • กระจ่าง 'หมอวรงค์' อธิบายละเอียดยิบทำไมศาลยกฟ้อง 'คดีจำนำข้าว' ทั้งอาญา-แพ่ง
October 11, 2022, 7:32 pm
สมคร-งาน-dksh-2020